กรรมลิขิต คนเกิดมารับกรรมจริงไหม ?
กฏแห่งกรรม กรรมลิขิต กฏแห่งการกระทำ ทั้งอดีตชาติ ปัจจุบันชาติ และอนาคตชาติ คนเกิดมารับกรรมจริงไหม? มีบางท่านเข้าใจผิด และสั่งสอนกันมาจนพูดติดปากอยู่คำหนึ่งคือคำว่า “คนเราเกิดมารับกรรม”
มนุษย์ในชมพูทวีป โลกแห่งความแตกต่าง
มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความแตกต่างของแต่ละบุคคล เพราะสัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน
พิธีกรรมงานอวมงคล
การทำบุญเนื่องในงานอวมงคล ได้แก่ งานทำบุญซึ่งปรารภเหตุที่ไม่เป็นมงคล เช่น ปรารภการตายของบิดามารดา ครู อาจารย์ หรือญาติมิตร เป็นต้น
การอุบัติและการจุติของชาวสวรรค์
แม้ชาวสวรรค์จะมีความสุขสบายถึงเพียงนี้ แต่อย่างไรก็ตามก็ยังคงมีความทุกข์อยู่เช่นกัน เพราะดินแดนที่ปราศจากความทุกข์มีอยู่เพียงแห่งเดียว คือ พระนิพพาน
โลกมนุษย์ที่สุดของความแตกต่าง
มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความแตกต่างของแต่ละบุคคล แม้เราจะมีอวัยวะที่เป็นคนเหมือนกัน แต่มีหลายสิ่งหลายอย่างที่ไม่เหมือนกัน ความแตกต่างเหล่านี้ หากให้เราคิดหาคำตอบด้วยตนเอง ก็คงจะกะโหลกบานสติเฟื่องเป็นแน่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงให้คำตอบเหล่านี้ไว้แล้วใน จูฬกัมมวิภังคสูตร
วิธีเตรียมความพร้อมก่อนเดินทางสู่ความตาย
ชีวิตในสังสารวัฏ เป็นชีวิตที่เสี่ยงภัยมาก เพราะเมื่อเราเกิดมาแล้ว หากอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการสร้างความดี เราอาจจะพลาดพลั้งไปทำบาปอกุศล เพราะขาดกัลยาณมิตรคอยชี้แนะ หนทางแห่งการสร้างความดี เมื่อละโลกไป แรงกรรมที่เรากระทำไว้ย่อมจะส่งผลให้เรามีโอกาสไปเกิดในอบายได้มาก
ปรโลกชีวิตหลังความตาย
ในทุกยุคทุกสมัยผู้คนมักสงสัยกันว่า คนเราเมื่อตายแล้วจะไปอยู่ที่ไหน บางคนมีความเชื่อว่าตายแล้วสูญ บางคนเชื่อว่าตายแล้วไม่สูญ แต่โดยทั่วไปแล้วมนุษย์เราไม่ทราบว่าตายแล้วไปไหน ซึ่งความเชื่อเหล่านี้มีผลต่อชีวิตหลังความตายของบุคคลนั้นๆ คือ ถ้าเชื่อว่าตายแล้วสูญ แล้วไม่ประกอบความดี เมื่อละโลกแล้วปรโลกที่เขาจะไปนั้น ก็จะเศร้าหมอง ทุกข์ทรมานยิ่งนัก
พระอรหันต์หาได้ยาก
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าบรมครูของเรา ทรงเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานแล้ว มีความบริสุทธิ์หมดจดจากกิเลสอาสวะทั้งปวง ได้เข้าถึงฝั่งแห่งพระนิพพานอันเป็นแดนเกษมจากโยคะ ที่ความทุกข์ใดๆ เข้าไปไม่ถึง จึงมีแต่
บุญไม่มีขายอยากได้ต้องทำเอง
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตรัสพระคาถาว่า “ปุญฺญญฺ เจ ปุริโส กยิรา กยิราเถนํ ปุนปฺปุนํ ตมฺหิ ฉนฺทํ กยิราถ สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย” แปลความว่า ถ้าบุรุษพึงทำบุญไซร้, พึงทำบุญนั้นบ่อยๆ พึงทำความพอใจในบุญนั้น, เพราะว่าความสั่งสมบุญทำให้เกิดสุข.
บุญไม่มีขาย อยากได้ต้องทำเอง
เมื่อยังไม่หมดกิเลส ต้องสร้างบุญให้เต็มที่ เพราะ "การสั่งสมบุญเป็นเหตุนำมาซึ่งความสุขทั้งในโลกนี้และโลกหน้า" นั่นเอง ...และที่สำคัญ "บุญไม่มีขาย อยากได้ต้องทำเอง"