อนาถบิณฑิกเศรษฐี (ทรัพย์หมด แต่ไม่หมดศรัทธา)
บัณฑิตทั้งหลายย่อมไม่ประพฤติกรรมอันเป็นบาป เพราะเหตุแห่งความสุขของตน ถูกทุกข์กระทบแล้ว แม้จะพลาดพลั้งลงไป ก็สงบอยู่ได้ ไม่ละทิ้งธรรม เพราะความรัก และความชัง
พระมหากัปปินเถระ
บุคคล ผู้เอิบอิ่มในธรรม มีใจผ่องใส ย่อมอยู่เป็นสุข บัณฑิต ย่อมยินดีในธรรมที่พระอริยเจ้า ประกาศแล้วทุกเมื่อ
อย่าให้เกิดอาการน้อยใจ
ผู้ใดละทิ้งคนของตน ทำผู้ที่มาใหม่ให้เป็นที่รักอย่างนี้ ผู้นั้นคนเดียวจะเศร้าโศกมากมาย เหมือนพราหมณ์ธูมการีเศร้าโศกอยู่อย่างนั้น
คุณธรรมพื้นฐาน 3
คุณธรรมพื้นฐาน 3 คุณธรรมความดีต่างๆ จะเกิดขึ้นได้ จำเป็นต้องมีคุณธรรมพื้นฐาน 3 รองรับอย่างมั่นคงแข็งแรงก่อน ได้แก่ 1. ความมีวินัย 2. ความอดทน 3. ความเคารพ
พุทธพยากรณ์ ๒
พระดำรัสของพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด ย่อมเที่ยงแท้แน่นอน เปรียบเสมือนราชสีห์เมื่อลุกจากที่นอน ต้องบันลือสีหนาท
ฆราวาสธรรม
บุคคลใดผู้อยู่ครองเรือนประกอบด้วยศรัทธา มีธรรม ๔ ประการนี้ คือ สัจจะ ธรรมะ ธิติ จาคะ บุคคลนั้นแล ละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมไม่เศร้าโศก
ผู้มีจิตตั้งมั่นไม่หวั่นไหว
ความศรัทธา เป็นทางมาแห่งความดีทั้งหลาย ผู้มีความศรัทธาเลื่อมใสในสิ่งที่ควรบูชา โดยเฉพาะอย่างยิ่งเลื่อมใสในพระรัตนตรัย จะได้ชื่อว่าเป็นผู้มีทรัพย์อันประเสริฐ ถ้าหากว่ามีศรัทธาตั้งมั่นไม่หวั่นไหว บัณฑิตทั้งหลายกล่าวว่า เป็นผู้ไม่ขัดสน ปรารถนาสิ่งใดจะสำเร็จประโยชน์ทุกเรื่อง จะเป็นผู้ที่เจริญอยู่ในกุศลธรรม และสามารถข้ามพ้นห้วงน้ำคือกิเลสอาสวะทั้งหลาย ไปสู่ฝั่งพระนิพพานได้
บุญเท่านั้นที่เป็นที่พึ่ง
ผู้ใดใคร่เห็นผู้มีศีล ปรารถนาจะฟังพระสัทธรรม กำจัดมลทิน คือความตระหนี่ได้ ผู้นั้นแล ท่านเรียกว่าผู้มีศรัทธา
ธรรมคุ้มครองโลก
สัปบุรุษผู้สงบระงับ ประกอบด้วยหิริและโอตตัปปะ ตั้งมั่นอยู่ในธรรมขาว ท่านเรียกว่า ผู้มีธรรมของเทวดาในโลก
หลุดพ้นจากเวร
เพราะเหตุใด พวกเธอจึงจองเวรกันอย่างนี้ ถ้าหากพวกเธอไม่มาพบเราแล้ว เวรของพวกเธอจะเป็นเช่นนี้อยู่ชั่วกัป เหมือนเวรของงูกับพังพอน ของหมีกับไม้ตะคร้อ ของกากับนกเค้า เพราะฉะนั้น จงเลิกจองเวรกันเถิด เพราะเวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร