มหาโควินทสูตรตอนที่ ๗ (ออกบวช)
บุคคลผู้ปีติในธรรม เมื่อดื่มรสอันเกิดแต่วิเวก และรสแห่งความสงบแล้ว ย่อมไม่มีความกระวนกระวาย ไม่มีบาป
ศาสดาเอกของโลก (๕)
การเจริญสมาธิภาวนา... เป็นทางลัดที่สุดที่จะทำให้เกิดความบริสุทธิ์....
พระสัพพัญญุตญาณ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน เป็นผู้บริสุทธิ์ หลุดพ้นแล้วจากกิเลสอาสวะ กิจที่จะต้องทำยิ่งกว่านี้ไม่มีอีกแล้ว เราก็เช่นเดียวกัน ควร
พระอรหันต์ของโลก
โลกนี้ โลกหน้า เรารู้อยู่ จึงประกาศไว้ดีแล้ว เราเป็นผู้ตรัสรู้เอง รู้ชัดโลกทั้งปวง ซึ่งแออัดด้วยมาร ทั้งที่เป็นโลกอันมัจจุไปไม่ถึง เรารู้ได้ด้วยปัญญาอันยิ่ง ได้เปิดประตูอมตะอันปลอดโปร่ง เพื่อบรรลุพระนิพพาน กระแสมารผู้ลามก เราตัดแล้ว กำจัดแล้ว ทำให้ปราศจากความฮึกเหิมแล้ว พวกเธอจงเป็นผู้มากไปด้วยปราโมทย์ ปรารถนาพระนิพพาน ซึ่งเป็นแดนเกษมเถิด
พระพุทธเจ้าเป็นอจินไตย
พระพุทธเจ้าเป็นอจินไตย พระธรรมของพระพุทธเจ้าก็เป็นอจินไตย วิบากของเหล่าชนผู้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า และพระคุณของพระองค์ ก็เป็นอจินไตย
พระพุทธคุณ ตอน สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ
พระองค์ทรงเป็นที่พึ่งของผู้ไร้ที่พึ่ง ทรงประทานความไม่มีภัยแก่เหล่าชนผู้มีความกลัว ทรงเป็นที่คุ้นเคยของผู้มีภูมิธรรมสงบ ทรงเป็นที่พึ่งที่ระลึกของผู้แสวงหาที่พึ่งที่ระลึก
พระพุทธคุณ ตอน ผู้รู้แจ้งด้วยตนเอง
เราเป็นผู้ครอบงำธรรมทั้งปวง รู้ธรรมทั้งปวง อันตัณหา และทิฏฐิไม่ฉาบทาแล้ว ในธรรมทั้งปวง ละธรรมเป็นไปในภูมิสามได้หมด พ้นแล้วเพราะ ความสิ้นไปแห่งตัณหา เราตรัสรู้ยิ่งเองแล้ว จะพึง อ้างใครเล่า อาจารย์ของเราไม่มี คนเช่นเรา ก็ไม่มี บุคคลเสมอเหมือนเราก็ไม่มี ในโลกกับ ทั้งเทวโลก เพราะเราเป็นพระอรหันต์ในโลก
วันประกาศพระพุทธศาสนา
ความอดทนคือความทนทาน เป็นตบะอย่างยิ่ง ผู้รู้ทั้งหลายย่อมกล่าวพระนิพพาน ว่าเป็นเยี่ยม บรรพชิตผู้ฆ่าสัตว์อื่น เบียดเบียนสัตว์อื่น ไม่ชื่อว่าสมณะเลย นี้เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ฉลาดคิด จิตจึงหลุดพ้น
ท่านจึงรวบรวมจิตให้กลับเข้ามายังฐานที่ตั้งดั้งเดิมของใจ คือ ที่ศูนย์กลางกายของท่าน และพิจารณาความงามนั้นให้แปรผันไปเป็นความไม่งาม โดยเอากระดูกฟันของหญิงนั้น เป็นนิมิต คิดว่าสักวันหนึ่ง ฟันซึ่งมีความขาวเงางามนี้ จะต้องแปรเปลี่ยนไป เสื่อมคลอน และหลุดร่วงออกจากปาก
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ธรรมกายต้นแหล่งแห่งความบริสุทธิ์
นักปราชญ์เหล่าใด เจริญสุญญตวิโมกข์ อนิมิตตวิโมกข์ และอัปปณิหิตวิโมกข์ ไม่บรรลุความเป็นพระสาวกในศาสนาของพระชินเจ้า นักปราชญ์เหล่านั้นย่อมเป็นพระสยัมภูปัจเจกพุทธเจ้า ผู้มีธรรมใหญ่ มีธรรมกายมากมาย มีจิตเป็นอิสระ ข้ามห้วงทุกข์ทั้งมวลได้ มีจิตโสมนัส มีปกติเห็นประโยชน์อย่างยิ่ง