ศาสดาเอกของโลก (๖)
มี..อานุภาพเป็นอจินไตย ยิ่งใหญ่กว่าผู้มีรู้มีญาณจะคาดคะเนได้ ผู้เข้าถึงพระรัตนตรัย เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับท่าน จะเกิดความซาบซึ้งในพระคุณอันไม่
ชีวิตเป็นเดิมพันเพื่อโพธิญาณ
“การสร้างบารมี” เป็นงานที่แท้จริงของมวลมนุษยชาติ เราเกิดมาเพื่อสร้างบารมี ดำเนินตามรอยบาทพระบรมศาสดา มุ่งแสวงหาสาระอันแท้จริงของชีวิต เพื่อให้ไปถึงจุดหมายปลายทาง คือ ที่สุดแห่งธรรม แต่ในระหว่างการสร้างบารมี เป็นธรรมดาที่จะต้องประสบอุปสรรคบ้าง ซึ่งอุปสรรคเป็นเพียงเครื่องทดสอบกำลังใจ
ชีวิตพระปัจเจกพุทธเจ้า (2)
นักปราชญ์เหล่าใดมีศีลบริสุทธิ์ มีปัญญาหมดจดดี มีจิตตั้งมั่น ประกอบความเพียร เจริญวิปัสสนา มีปกติเห็นธรรมพิเศษ รู้แจ้งธรรมอันประกอบด้วยมรรค และโพชฌงค์ เจริญสุญญตวิโมกข์ อนิมิตตวิโมกข์ และอัปปณิหิตวิโมกข์ ไม่บรรลุความเป็นพระสาวกในศาสนาของพระชินเจ้า นักปราชญ์เหล่านั้น ย่อมเป็นพระสยัมภูปัจเจกชินเจ้า มีธรรมใหญ่ มีธรรมกายมาก มีจิตเป็นอิสระ ข้ามห้วงทุกข์ทั้งปวงได้ มีใจเบิกบาน มีปกติเห็นประโยชน์อย่างยิ่ง อุปมาดังราชสีห์ อุปมาดังนอแรดฉะนั้น
พุทธกิจของพระพุทธเจ้า
ในเวลาเช้าเสด็จบิณฑบาต เวลาเย็นทรงแสดงพระธรรมเทศนา เวลาย่ำค่ำทรงประทานโอวาทแก่ภิกษุ เที่ยงคืนทรงพยากรณ์ปัญหาแก่เทวดา เวลาใกล้รุ่งทรงตรวจดูหมู่สัตว์ผู้ที่พระองค์จะโปรดได้
เจ้าชายสิทธัตถะเมื่อแรกประสูติ ทรงดำเนินไปได้ 7 ก้าวจริงหรือ? - หลวงพ่อตอบปัญหา
เจ้าชายสิทธัตถะเมื่อแรกประสูติ ทรงดำเนินไปได้ 7 ก้าวนั้นเป็นไปได้จริงหรือ?, พระโพธิสัตว์ที่ยอมสละชีวิตเป็นเดิมพันนั้น ต่างจากการฆ่าตัวตายอย่างไร?
พระสังฆคุณ
สุปฏิปนฺฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ สามีจิปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ ยทิทํ จตฺตาริ ปุริสยุคานิ อฏฺฐ ปุริสปุคฺคลา เอส ภควโต สาวกสงฺโฆ อาหุเนยฺโย ปาหุเนยฺโย ทกฺขิเณยฺโย อญฺชลีกรณีโย อนุตฺตรํ ปุญฺญกฺเขตฺตํ โลกสฺส
พระพุทธคุณ ตอน ผู้รู้แจ้งโลก
บุคคลใดมีความเพียร ข่มขี่มาร ครอบงำมัจจุราชได้แล้ว ได้ถูกต้องธรรมอันเป็นที่สิ้นการเกิด บุคคลเช่นนั้นย่อมเป็นผู้รู้แจ้งโลก เป็นผู้มีปัญญาดี เป็นมุนี ผู้หมดความทะยานอยากในธรรมทั้งปวง
ศาสดาเอกของโลก (6)
ชนเหล่าใด ถึงพระพุทธเจ้าว่าเป็นที่พึ่งที่ระลึกอันสูงสุด ชนเหล่านั้น ละโลกนี้ไปแล้ว จักไม่ไปสู่อบายภูมิ เมื่อละกายมนุษย์นี้แล้ว จักยังหมู่เทวดาให้บริบูรณ์...
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ธรรมกายต้นแหล่งแห่งความบริสุทธิ์
นักปราชญ์เหล่าใด เจริญสุญญตวิโมกข์ อนิมิตตวิโมกข์ และอัปปณิหิตวิโมกข์ ไม่บรรลุความเป็นพระสาวกในศาสนาของพระชินเจ้า นักปราชญ์เหล่านั้นย่อมเป็นพระสยัมภูปัจเจกพุทธเจ้า ผู้มีธรรมใหญ่ มีธรรมกายมากมาย มีจิตเป็นอิสระ ข้ามห้วงทุกข์ทั้งมวลได้ มีจิตโสมนัส มีปกติเห็นประโยชน์อย่างยิ่ง
มงคลที่ 37 - จิตปราศจากธุลี - ปล่อยวางในสรรพสิ่ง
สรรพสิ่งและสรรพสัตว์ทั้งหลาย ล้วนมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ไม่ว่าจะเป็นต้นไม้ใบหญ้า รถราบ้านช่อง คนสัตว์สิ่งของ สิ่งเหล่านี้ล้วนมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เหมือนต้นไม้ที่เราเคยเห็นต้นเล็กๆ ไม่นานก็เจริญเติบโตขึ้น แผ่กิ่งก้านสาขาออกดอกออกผล ให้ความสดชื่นแก่ทุกชีวิต แต่ไม่นาน ดอกไม้ที่ดูสวยสดงดงามเหล่านั้น ก็เหี่ยวแห้ง ร่วงโรยไปตามกาลเวลา ชีวิตของเราก็เช่นเดียวกัน