พุทธมณฑล จัดพิธีทอดผ้าป่าสามัคคี
สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ เป็นประธานในพิธีทอดผ้าป่าสามัคคี ในงานปฏิบัติธรรม
บุญไม่มีขายอยากได้ต้องทำเอง
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตรัสพระคาถาว่า “ปุญฺญญฺ เจ ปุริโส กยิรา กยิราเถนํ ปุนปฺปุนํ ตมฺหิ ฉนฺทํ กยิราถ สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย” แปลความว่า ถ้าบุรุษพึงทำบุญไซร้, พึงทำบุญนั้นบ่อยๆ พึงทำความพอใจในบุญนั้น, เพราะว่าความสั่งสมบุญทำให้เกิดสุข.
แสนโกฏิจักรวาล
หมู่สัตว์ ๑ อากาศ ๑ จักรวาลไม่มีที่สุด ๑ และพระพุทธญาณอันหาประมาณมิได้ ๑ ทั้ง ๔ อย่างนี้ ใครๆ ไม่อาจรู้ได้
พระอรหันต์ของโลก
โลกนี้ โลกหน้า เรารู้อยู่ จึงประกาศไว้ดีแล้ว เราเป็นผู้ตรัสรู้เอง รู้ชัดโลกทั้งปวง ซึ่งแออัดด้วยมาร ทั้งที่เป็นโลกอันมัจจุไปไม่ถึง เรารู้ได้ด้วยปัญญาอันยิ่ง ได้เปิดประตูอมตะอันปลอดโปร่ง เพื่อบรรลุพระนิพพาน กระแสมารผู้ลามก เราตัดแล้ว กำจัดแล้ว ทำให้ปราศจากความฮึกเหิมแล้ว พวกเธอจงเป็นผู้มากไปด้วยปราโมทย์ ปรารถนาพระนิพพาน ซึ่งเป็นแดนเกษมเถิด
มหาสมัยสูตรครั้งที่ 2 (ตอนรายนามเหล่าเทวา)
สติของชนเหล่าใด แล่นไปแล้วในพระพุทธเจ้าเป็นนิตย์ ทั้งกลางวัน และกลางคืน ชนเหล่านั้น เป็นสาวกของพระโคดม ตื่นอยู่ด้วยดีในกาลทุกเมื่อ
เจริญสังฆานุสติ
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระสงฆ์
พระพุทธคุณ ตอน พระผู้เสด็จไปดีแล้ว
พระสุคต มาจากศัพท์บาลี คือ สุคโต แปลว่า เสด็จไปดี เสด็จไปงาม คือ พระองค์ทรงมีทางเสด็จที่ดีงามอันได้แก่ อริยมรรค และได้เสด็จไปสู่ที่ดีงาม คือ พระนิพพาน โดยทรงดำเนินรุดหน้าไป ไม่หวนกลับคืนมาสู่กิเลสที่ทรงละได้แล้ว
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (1)
นรชนผู้กำหนัดในกาม ยินดีในกาม หมกมุ่นอยู่ในกาม กระทำบาปกรรมแล้ว ย่อมเข้าถึงทุคติ ส่วนนรชนเหล่าใด ละกามทั้งหลายได้แล้ว เป็นผู้ไม่มีภัยแต่ที่ไหนๆ บรรลุความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่งเดียว นรชนเหล่านั้นย่อมไม่ไปสู่ทุคติ
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (3)
รสเหล่าใดมีอยู่ในแผ่นดิน สัจจะเป็นรสที่ยังประโยชน์ให้สำเร็จกว่ารสเหล่านั้น เพราะว่าสมณพราหมณ์ผู้ตั้งอยู่ในสัจจะย่อมข้ามพ้นฝั่งแห่งชาติและมรณะได้
ลักษณะมหาบุรุษ (1)
ความมีวรรณะงาม ความมีเสียงเพราะ ความมีทรวดทรงดี ความมีรูปสวย ความเป็นใหญ่ ความมีบริวาร อิฐผลทั้งหมดนั้น บุคคลย่อมได้ด้วยบุญนิธินี้