อานิสงส์ถวายวิหาร
ลูกไม่ประสงค์จะครองเรือน ลูกยินดีอย่างยิ่งในพระนิพพาน ภพถึงแม้ว่าจะเป็นทิพย์ ก็ไม่ยั่งยืน จะป่วยกล่าวไปใยถึงกามทั้งหลาย ซึ่งเป็นของว่างเปล่า
โลกุตรภูมิ ภูมิที่พ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด
โลกุตรภูมิ คือ ภูมิหรือชั้นที่พ้นจากภพ 3 คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ หมายถึง ระดับจิตของพระอริยบุคคลที่พ้นจากกิเลสโดยเด็ดขาดตามลำดับ และรวมถึงอมตมหานิพพานด้วย
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๖ (ขอลาบวช)
ชีวิตมีอายุน้อย ถูกชราต้อนเข้าไป ชีวิตที่ถูกชราต้อนเข้าไปแล้ว ย่อมต้านทานไม่ได้ ผู้เห็นภัยในความตายนี้มุ่งต่อสันติ พึงละโลกามิสเสีย
การแก้คำกล่าวหาแบบพุทธวิธี
ภิกษุใด ชนะหนามคือกาม ชนะการด่า การฆ่า และ การจองจำได้ ภิกษุนั้น เป็นผู้มั่นคงไม่หวั่นไหวดุจภูเขา ย่อมไม่หวั่นไหวในสุข และทุกข์
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (1)
นรชนผู้กำหนัดในกาม ยินดีในกาม หมกมุ่นอยู่ในกาม กระทำบาปกรรมแล้ว ย่อมเข้าถึงทุคติ ส่วนนรชนเหล่าใด ละกามทั้งหลายได้แล้ว เป็นผู้ไม่มีภัยแต่ที่ไหนๆ บรรลุความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่งเดียว นรชนเหล่านั้นย่อมไม่ไปสู่ทุคติ
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 6 ขอลาบวช)
มงคลที่ 37 - จิตปราศจากธุลี - ปล่อยวางหมด ก็หมดทุกข์
ชายหนุ่มเจ้าชู้คนหนึ่งได้แลเห็นพระเถรี ผู้กำลังเดินผ่านไปยังชีวกัมพวันวิหารอันน่ารื่นรมย์ ได้ถูกกามราคะครอบงำ คือ มีจิตปฏิพัทธ์ในพระเถรีขึ้นมา ได้ออกไปยืนขวางทางแล้วกล่าวคำเชื้อเชิญให้พระเถรียินดีในกามารมณ์ อนาคามีเถรีผู้ไม่มีจิตยินดีในกามารมณ์ เห็นอย่างนั้น ก็กล่าวว่า "เราทำผิดอะไร ท่านถึงมายืนขวางทางเรา ท่านเป็นคนไม่บริสุทธิ์ ไม่ควรถูกต้องหญิงนักบวชเช่นเราผู้บริสุทธิ์ด้วยสิกขา ที่พระสุคตเจ้าทรงแสดงไว้ดีแล้ว
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 183
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงอุปมาถึงบุคคลผู้ติดอยู่ในกามคุณว่า เหมือนคนมีหนี้ ก็ยอมให้เจ้าหนี้ด่าว่าได้ จองจำได้ จนกระทั่งสั่งฆ่าได้ ดังนั้นโทษของกามคุณจึงเปรียบเหมือนหลุมถ่านเพลิงอันร้อนแรง หากพลาดท่าตกลงไปในบ่วงกามมีแต่จะเร่าร้อนตลอดเวลา เพราะถูกไฟ คือ ราคะ แผดเผา มโหสถบัณฑิตสามารถจับทางพระเจ้าจุลนีได้ ด้วยการกล่าวพรรณนาความงามของพระนางนันทาเทวี
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 153
“โอว...สาลิกาจ๋า เธอช่างดีเหลือเกิน ฉันได้คุยกับนางนกสาลิกามามากต่อมาก ยังไม่เคยเห็นใครที่ทั้งสวยและจิตใจงดงามอย่างเธอมาก่อน” คำป้อยอของสุวโปดกเห็นจะถูกอกถูกใจของนางสาลิกาอย่างมาก มิตรภาพแรกพบระหว่างนกทั้งสองกำลังเป็นไปได้อย่างสวยงาม ด้วยวาจาอันไพเราะที่ต่างฝ่ายต่างมีให้ซึ่งกันและกัน
มงคลที่ ๓๒ ประพฤติพรหมจรรย์ - ชีวิตที่ประเสริฐ
พระองค์ถือเอาความสิ้นไปของหยาดน้ำค้างนั้น เป็นอารมณ์ จึงมองเห็นภพทั้งสามดุจมีเพลิงลุกไปทั่ว จากนั้นได้เสด็จไปหาพระบิดาซึ่งกำลังประทับอยู่ ณ ศาลาวินิจฉัย เพื่อทูลลาบวช พระบิดาทรงห้ามว่า "อย่าผนวชเลย ถ้าเธอยังพร่องในเบญจกามคุณทั้งหลาย ฉันเพิ่มเติมให้ ถ้าผู้ใดเบียดเบียนเธอ ฉันก็จะห้ามปราม"