น้ำมหาประลัย
การดื่มน้ำเมานั้น นอกจากได้ชื่อว่าเป็นการล่วงละเมิดศีลข้อ ๕ แล้ว พระพุทธองค์ยังทรงชี้โทษไว้ว่าเป็นอบายมุข คือ ปากทางแห่งความเสื่อม ผู้ดื่มน้ำเมาจะพบกับความหายนะอย่างน้อย ๖ ประการ คือ...
ศีลศัลยกรรม
“คนมีศีล ย่อมได้รับอานิสงส์ 5 อย่าง คือ พรั่งพร้อมทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงฟุ้งขจรไปทั่ว มีความอาจหาญในการเข้าสู่สมาคม เป็นผู้ไม่หลงทำกาละ ละโลกแล้วเข้าถึงสุคติสวรรค์”
ทุกข์ของคนพาลในปัจจุบัน
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย คนพาลนั้นแลย่อมเสวยทุกข์โทมนัส 3 อย่างในปัจจบัน
มงคลที่ ๒๐ สำรวมจากการดื่มน้ำเมา - เลิกอบายมุข พบสุขที่แท้จริง
ทันทีที่พระสาคตะเดินมาบิณฑบาต แต่ละครัวเรือนต่างพากันกล่าวเชื้อเชิญให้ดื่มน้ำสุราชั้นเลิศ พระสาคตะไม่อยากขัดศรัทธา จึงดื่มสุราจากทุกๆ ครัวเรือนที่เขาถวาย เมื่อดื่มมากเข้า ก็เริ่มเมาประคองสติไม่อยู่ เมื่อจะเดินออกนอกเมืองเพื่อกลับวัด ก็เดินโซเซไปมา แล้วล้มกลิ้งเกลือกลงบนพื้นถนน บาตรและอาหารที่บิณฑบาตได้มา กระจัดกระจายไปคนละทิศละทาง ขณะนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จออกจากเมือง
มงคลที่ ๒๐ สำรวมจากการดื่มน้ำเมา - น้ำอุบาทว์ผลาญชีวิตและทรัพสิน
เมื่อลูกชายขี้เมาได้หม้อสารพัดนึก แทนที่จะทำตามโอวาทที่ท้าวสักกะให้ไว้ กลับยิ้มย่องคิดว่า ตัวเรานี้ช่างโชคดีเหลือเกิน มีเทวดาคอยช่วยเหลือ จึงเที่ยวดื่มสุรากับเพื่อนๆ ไม่ยอมทำมาหากิน วันหนึ่ง ลูกชายเมามาก และด้วยความคึกคะนอง ได้โยนหม้อขึ้นไปในอากาศ แต่โชคร้ายที่เกิดรับพลาด หม้อได้ตกลงมาแตก
เทวดาทำสิ่งใดในวันพระ
ตลอดระยะเวลา 1 เดือน ตั้งแต่วันข้างแรมจนถึงข้างขึ้น มนุษย์ที่ประมาทในการดำเนินชีวิต ก็จะสนุกสนานเพลิดเพลินกับเรื่องที่ไร้สาระ เช่น เล่นอบายมุข ดื่มสุราเมรัยยาเสพติดสิ่งที่ไม่ดี เป็นต้น ส่วนมนุษย์ที่ไม่ประมาท ก็จะหมั่นสั่งสมบุญ สวดมนต์ ให้ทาน รักษาศีล เจริญภาวนา
วันโกน วันแห่งการเตรียมกายวาจาใจให้ใสบริสุทธิ์
วันโกนคือวันเตรียมตัวทางกายและใจสำหรับชาวพุทธ ก่อนวันพระ โดยมีความสำคัญในพระพุทธศาสนา และเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติธรรม
ปานียชาดก ชาดกว่าด้วยการทำบาปแล้วรังเกียจบาปที่ทำ
“ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ขึ้นชื่อว่ากิเลสเป็นของเล็กน้อยไม่มีเลย ธรรมดาว่าภิกษุต้องข่มกิเลสที่เกิดแล้วแล้วเสีย บัณฑิตครั้งก่อนเมื่อพระพุทธเจ้ายังไม่เสด็จอุบัติต่างก็ข่มกิเลสทั้งหลายเสียได้บรรลุปัจเจกพุทธญาณ ”
สุราปานชาดก ชาดกว่าด้วยโทษของการดื่มสุรา
พวกดาบสดื่มสุราแล้วก็เมามายไม่ได้สติ บางพวกลุกขึ้นฟ้อนรำ บางพวกขับร้อง รุ่งเช้าพอสร่างเมา ฤาษีพากันตื่นเห็นอาการอันวิปปริตของตนนั้น ต่างก็ร้องไห้คร่ำครวญ “ โธ่ พวกเราไม่ได้กระทำอันสมควรแก่บรรพชิตเลย แล้วถ้าอาจารย์รู้จะเสียใจเพียงไร ที่มีศิษย์ทำตัวเยี่ยงนี้ ”
ศีล 5 กับกลอนสุนทรภู่
สุนทรภู่แต่งกลอนไว้มากมาย ในผลงานต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น พระอภัยมณี นิราศภูเขาทอง ภายในบทกลอนนั้นมีกลิ่นอายของสังคมในยุคนั้นที่ผสมผสานวัฒนธรรมและศาสนา วันนี้เรามาพิจารณา ศีล 5 ที่ปรากฏในบทกลอนกัน