พระภัททิยะเถระ
ผู้ใดตัดความข้องทั้งปวงแล้ว บรรเทาความกระวนกระวายใจได้ ผู้นั้นถึงความสงบใจ เป็นผู้สงบระงับ ย่อมอยู่อย่างมีความสุข
สุขวิหารีชาดก ชาดกว่าด้วยสุขอันเกิดจากการบรรพชา
สมเด็จพระภัททิยะตัดสินพระทัยออกผนวชในพระพุทธศาสนา ได้บำเพ็ญเพียรจนหมดกิเลสเป็นพระอรหันต์ เดินทางภิกขาจารไปทุกหนทุกแห่งโดยลำพัง พระองค์ได้พบกับความสุขอย่างแท้จริง ด้วยไม่ข้องอยู่กับอิสริยยศและอันตราย จึงเปล่งอุทานขึ้นว่า “ เฮ้อ สุขจริงหนอ สุขจริง ”
ความสุข ทำอย่างไรให้มีความสุข
ความสุขเป็นสิ่งที่ใคร ๆ ก็แสวงหา ทราบไหมคนทั่วโลกและคนไทยมีความสุขกันอย่างไร องค์การสหประชาชาติเคยสำรวจว่า 156 ประเทศนี่เขามีความสุขกันอย่างไร มีการจัดลำดับด้วย คนไทยจัดว่าอยู่อันดับที่ 52โดย เราเป็นอันดับที่ สามในภูมิภาคอาเซียน ส่วนปัจจัยที่ทำให้คนมีความสุข ความร่ำรวยและเงินทองเป็นเพียงหนึ่งปัจจัยเท่านั้นเอง
พระภัททิยเถระกับการสร้างบุญพิเศษอย่างหนึ่งให้เต็มที่เต็มกำลัง
ในการทำบุญที่ส่งผลอลังการนั้น ไม่ใช่สิ่งผูกขาดเฉพาะกับบุคคลในพระไตรปิฎกเท่านั้น แต่เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นกับผู้มีบุญในปัจจุบันได้เช่นกัน เพราะบุญย่อมส่งผลดีแก่ผู้ทำโดยไม่เลือกยุคสมัย
ชัยชนะครั้งที่ ๗ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๑ ชนะนันโทปนันทนาคราช)
ความทุกข์เป็นสิ่งที่มาพร้อมกับการเกิดของสรรพสัตว์ทั้งหลาย ทุกชีวิตต่างปรารถนาความสุข แสวงหาความหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวง
วันอาสาฬหบูชา
ทุกวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ของทุกปี จะตรงกับวันสำคัญทางพุทธศาสนาอีกหนึ่งวัน นั่นคือวันอาสาฬหบูชา ซึ่งเป็นวันที่พระพุทธเจ้าได้ทรงประกาศพระพุทธศาสนาเป็นครั้งแรก
ชัยชนะครั้งที่ 7 (ตอนที่ 1 ชนะนันโทปนันทนาคราช)
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจอมมุนี ทรงโปรดให้พระโมคคัลลานเถระพุทธชิโนรส ไปปราบนันโทปนันทนาคราช ผู้มีความรู้ผิด มีฤทธิ์มาก ด้วยวิธีให้แสดงฤทธิ์ ทรมานให้สิ้นฤทธิ์ ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงเกิดมีแก่ท่าน
มงคลที่ ๑๘ ทำงานไม่มีโทษ - กรณียกิจ
กรณียกิจที่สำคัญสำหรับการเกิดมาเป็นมนุษย์ เป็นงานที่มีแต่คุณอย่างเดียว ไม่มีโทษแม้แต่น้อย เมื่อเราเข้าถึงแล้ว ชีวิตของเราก็จะสมบูรณ์ แต่หากยังเข้าไม่ถึง ชีวิตก็ไม่ต่างไปจากนกกา ที่ตื่นแต่เช้าออกไปทำมาหากิน กลับมานอนหลับพักผ่อน วนเวียนกันไปเช่นนี้ จนกระทั่งแก่ชรา และตายไปในที่สุด เช่นนี้เรียกว่า เกิดมาตายฟรี ชีวิตไม่มีสาระ
จำลอง"ธัมเมกขสถูป"ครั้งแรก พระสงฆ์ 980 รูปเจริญพระพุทธมนต์ตลอดงาน"สัปดาห์แห่งอาสาฬหบูชา"